วันจันทร์ที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2558

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา

พระพุทธศาสนามีทฤษฎีและวิธีการที่เป็นสากล
พระพุทธศาสนามีหลักการและทฤษฎีที่เป็นสากล คือ หลักอริยสัจ 4 หมายถึง หลักความจริงอันประเสริฐของชีวิตมี 4 ประการ คือ
 1. ทุกข์ (ความไม่สบายกายและใจ) สอนว่า  “  ชีวิต และโลก นี้มีปัญหาอะไรบ้าง ”
 2. สมุทัย (สาเหตุที่ทำให้เกิดทุกข์) สอนว่า  “ ปัญหาต่าง ๆ  ที่เกิดขึ้นมีสาเหตุ  มิได้เกิดขึ้นมาลอย ๆ ”
 3. นิโรธ (วิธีการดับทุกข์) สอนว่า  “ มนุษย์มีศักยภาพในตัวเอง ที่จะสามารถแก้ปัญหาได้เอง ”
 4. มรรค (แนวทางการปฏิบัติให้ถึงการดับทุกข์) สอนว่า “การแก้ปัญหาต้องใช้ปัญญา” (ความรู้และความเพีย... อ่านเพิ่มเติม


หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 พุทธประวัติและชาดก

สิทธัตถะเป็นราชโอรสของพระเจ้าสุทโธทนะ กับพระนางสิริมหามายา”  ประสูติ ที่สวนลุมพินีวัน ณ ใต้ต้นสาละ (ปัจจุบันคือ ต.รุมมินเด ประเทศเนปาล) พราหมณ์ทั้ง 8 ได้ทำนายว่า เจ้าชายมีลักษณะเป็นมหาบุรุษ คือ ถ้าดำรงตนในฆราวาสจะได้เป็นจักรพรรดิ ถ้าออกบวชจะได้เป็นศาสดาเอกของโล... อ่านเพิ่มเติม


หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาและศาสนาพิธี

วันมาฆบูชา

      เป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ด้วยเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นเมื่อ 2,500 กว่าปี วันมาฆบูชาจึงเป็นวันที่สำคัญมากวันหนึ่งของพระพุทธศาสนา
       เหตุที่พุทธศาสนิกชนถือว่า "วันมาฆบูชา" เป็นวันสำคัญทางพุทธศาสนา เพราะมีเหตุการณ์พิเศษที่มาบรรจบกัน 4 ประการ หรือที่เรารู้จักกันดีว่า "จาตุรงคสันนิบาต" อันเป็นประดุจการปฐมนิเทศในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาอย่างเป็นทางการนั่นเอง ซึ่งถือว่าเป็นปรากฏการณ์มหัศจรรย์ที่โลกต้องจารึก เพราะเป็นการประชุมของผู้บริสุทธิ์ล้วนๆ แ... อ่านเพิ่มเติม

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา

1.ขันธ์ 5 หรือ เบญจขันธ์ คือ องค์ประกอบของชีวิตมนุษย์ที่ประกอบด้วยรูปและนาม
      รูป คือ ส่วนที่เป็นร่างกาย ประกอบด้วยธาตุ 4 ได้แก่
    - ธาตุดิน(ส่วนของร่างกายที่เป็นของแข็ง เช่น เนื้อ กระดูก ผม)
    - ธาตุน้ำ (ส่วนที่เป็นของเหลวของร่างกาย) เช่น เลือด น้ำลาย น้ำเหลือง น้ำตา )
    - ธาตุลม (ส่วนที่เป็นลมของร่างกาย ได้แก่ ลมหายใจเข้าออก ลมในกระเพาะอาหาร)
    - ธาตุไฟ ( ส่วนที่เป็นอุณหภูมิของร่างกาย ได้... อ่านเพิ่มเติม



วันอาทิตย์ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2558

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พระไตรปิฎกและพุทธศาสนสุภาษิต

พระไตรปิฎก : โครงสร้าง ชื่อคัมภีร์และสาระสังเขปของพระสุตตันตปิฎก

พระสูตร หรือที่เรียกในทางวิชาการว่า พระสุตตันปิฎก เป็น 1 ใน 3 ปิฎก มีลักษณะที่แตกต่างออกไปจากพระวินัยปิฎกและพระอภิธรรมปิฎก คือ เป็นการแสดงพระธรรมเทศนาที่มี บุคคล เหตุการณ์และสถานที่เข้ามาประกอบที่เรียกว่า บุคลาธิษฐาน โดยที่พระพุทธเจ้าทรงปรารภบุคคลเป็นต้น แล้วทรงถือโอกาสแสดงธรรมเทศนา ที่มีลักษณะเป็น ธรรมาธิษฐานบ้าง แต่ก็มีเป็น... อ่านเพิ่มเติม



หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 การบริหานจิตและเจริญปัญญา

พระพุทธศาสนามีหลักคำสอนที่เน้นเรื่อง การฝึกควบคุมการ วาจาและจิตใจไปพร้อมกัน ทั้งนี้เพราะพระพุทธศาสนาถือว่าเมื่อกาย วาจา สงบนิ่ง และควบคุมจิตให้สนใจในเรื่องใดเรื่องหนึ่งเพียงเรื่องเดียว ความรู้ความเข้าใจตามสภาพความเป็นจริงก็จะเกิดขึ้นตามมา การควบคุมกาย วาจา ให้สงบเรียบร้อย เรียกว่า ศีล การควบคุมจิตให้สนใจสนใจเพียงเรื่องเดียว เรียกว่า สมาธิ ความรู้ ความเข้าใจตามสภาพความเป็นจริง เรียกว่า ปัญญา ทั้งศีล สมาธิ และปัญญา รวมเรียกว่า ไตรสิกขา กล่... อ่านเพิ่มเติม



หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 พุทธสาวก พุทธสาวิกา และศาสนิกชนตัวอย่าง

1.พุทธสาวก สาวิกา
1.1 พระอานนท์
- พระอานนท์มีศักดิ์เป็นน้องของพระพุทธเจ้า
- ทรงออกบวชพร้อมกับเจ้าชายในราชสกุลศากยะอีก 5 องค์
- หลังจากบวชไม่นานได้ฟังโอวาทของ พระปุณณมันตานีบุตร ได้บรรลุโสดาบัน
- ทรงเป็น พุทธอุปฐาน ( คนใกล้ชิด คอยรับใช้ ) ของพระพุทธเจ้า
- ก่อนรับตำแหน่งได้ขอพรจากพระพุทธเจ้า 8 ประการ
- ข้อที่ 8 ถ้าพระพุทธองค์ทรงแสดงธรรมโดยที่ท่านไม่ได้อยู่ด้วย ขอให้มาแสดงธรรมเรื่องนั้นให้ท่านฟังภายหลัง
- พระอานนท์เป็นผู้ที่ใกล้ชิดพระพุทธองค์มากที่สุด ไ... อ่านเพิ่มเติม